SRRT


Service Profile


บริการ : งานระบาดวิทยาและควบคุมโรคติดต่อ
กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิ
โรงพยาบาลภูกระดึง   จังหวัดเลย



บริบท (Context)
ความมุ่งหมาย (Purpose) :  มุ่งมั่นให้บริการดูแลสุขภาพของประชาชนในอำเภอภูกระดึง ให้รู้จักการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้  การควบคุมโรคติดต่อและภัยสุขภาพ เมื่อมีการระบาดหรือผิดปกติ อย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนางานระบาดวิทยาให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน
ขอบเขตบริการ (Scope of service) :  งานเฝ้าระวัง  สอบสวน  ควบคุมและป้องกันโรค ในเขตอำเภอภูกระดึง 
ความต้องการในการประสานงานภายในที่สำคัญ :
หน่วยงาน
ความต้องการ
การตอบสนอง
ผลลัพธ์
กลุ่มการพยาบาล
-รายงานสถานการณ์โรค

จัดทำรายงานสถานการณ์โรคเสนอ
แจกเอกสารรายงานสถานการณ์โรคเสนอในที่ประชุมประจำเดือน/คปสอ.
งานผู้ป่วยนอก
-ความรวดเร็วในการสอบสวนโรค
เมื่อได้รับแจ้งให้ออกสอบสวนโรคภายใน 24 ชั่วโมง
จำนวนการแจ้งข่าวและสอบสวนโรค
งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน
-ความรวดเร็วในการสอบสวนโรค
เมื่อได้รับแจ้งให้ออกสอบสวนโรคภายใน 24 ชั่วโมง
จำนวนการแจ้งข่าวและสอบสวนโรค
งานผู้ป่วยใน
-ความรวดเร็วในการสอบสวนโรค
เมื่อได้รับแจ้งให้ออกสอบสวนโรคภายใน 24 ชั่วโมง
จำนวนการแจ้งข่าวและสอบสวนโรค
งานชันสูตร
-เกณฑ์การส่งตัวอย่าง
ขอคู่มือการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ

มีคู่มือใช้งาน

ลักษณะความต้องการในการประสานงานภายในที่สำคัญ :
1. ลักษณะสำคัญของงานบริการ
   -สอบสวนโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 84 โรค
2. ปริมาณงาน
   -จำนวนโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ (Key quality issues) :
ทีมงาน , ความพร้อม , การเฝ้าระวังและเตือนภัย , การสอบสวนโรค

ความท้าทายและความเสี่ยงที่สำคัญ :
-พัฒนาระบบป้องกันและควบคุมโรค



ศักยภาพและข้อจำกัดในด้านผู้ปฏิบัติงาน เครื่องมือ เทคโนโลยี :
1. ด้านผู้ปฏิบัติงาน
-มีการจัดเวรเจ้าหน้าที่ SRRT คอยรับแจ้งข่าวโรคติดต่อ และตรวจจับการระบาดในวันเสาร์-อาทิตย์
 และวันหยุดนักขัตฤกษ์  ทำให้การสอบสวนโรคทันเวลา
-ผ่านการประเมินมาตรฐานทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT)
-หัวหน้ากลุ่มงานมีการสั่งสมความเชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการที่ดี
2. ด้านเครื่องมือ
-มียานพาหนะพร้อมใช้ในการออกปฏิบัติงาน
-มีเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในการควบคุมเพียงพอและพร้อมใช้งาน
3. ด้านเทคโนโลยี
-มีโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับลงข้อมูลรายงาน  วิเคราะห์ และประเมินผลได้อย่างรวดเร็ว
-การแจ้งรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อ ทางโทรศัพท์ให้เจ้าหน้าที่ SRRT สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
 ทำให้ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์  ทำให้เป็นข้ออ้างได้ว่าไม่ได้รับข้อมูลรายงาน

ประเด็นการสร้างเสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง :
วัตถุประสงค์  ตัวชี้วัด  การพัฒนา
ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ/
ความท้าทายที่สำคัญ
เป้าหมาย/วัตถุประสงค์
ตัวชี้วัดและผลลัพธ์
กิจกรรมการพัฒนา
ทีมงาน
1.เพื่อให้หน่วยงานมีการกำหนดตัวบุคคลหรือจัดตั้งทีมงานรับผิดชอบในด้านการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคที่ชัดเจน

1.มีคำสั่งแต่งตั้งทีม
2.มีจำนวนสมาชิกทีมตั้งแต่        4 ขึ้นไป
3.มีองค์ประกอบของทีมครบ 3 ส่วนตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ หัวหน้าทีม แกนหลัก ผู้ร่วมทีม
จัดประชุมทีม

2.มีการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการด้านการเฝ้าระวังและสอบสวนทางระบาดวิทยาของทีมอย่างต่อเนื่อง


1.สมาชิกทีมผ่านการอบรมระบาดวิทยาร้อยละ 80 ขึ้นไป
2.ทีมงานมีผลงานการสอบสวนโรคในรอบ 12 เดือน
3.ทีมมีผลงานการนิเทศงานหรือประเมิน
1.สมาชิกเข้าอบรมหลักสูตรระบาดวิทยา
2.ทีมอำเภอออกนิเทศงานทีม รพ.สต.


ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ/
ความท้าทายที่สำคัญ
เป้าหมาย/วัตถุประสงค์
ตัวชี้วัดและผลลัพธ์
กิจกรรมการพัฒนา
ความพร้อม
เพื่อให้หน่วยงานมีการพัฒนาการจัดการจัดการและสนับสนุนทรัพยากรให้มีความพร้อมอยู่เสมอ



1.มีแผนปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉินทั้งในและนอกเวลาราชการ
2.มีการจัดงบประมาณเพื่อใช้ในการสอบสวนโรคและส่งวัตถุตัวอย่างที่เพียงพอ
3.มียานพาหนะที่สามารถนะออกใช้ปฏิบัติงานได้ทันที
4.มีการจัดเวรผู้ปฏิบัติงานที่เป็นจริง
จัดทำแผนปฏิบัติงาน

เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการออกปฏิบัติงานภาคสนามของทีมให้มีความรวดเร็วได้มาตรฐานตามที่กำหนด

สามารถออกสอบสวนโรคได้ภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากวันที่รับแจ้งว่ามีผู้ป่วย
มีการวิเคราะห์ความรวดเร็วในการออกปฏิบัติงานจากรายงานการสอบสวนโรค
การเฝ้าระวังและเตือนภัย
เพื่อพัฒนาศักยภาพของทีม SRRT ในการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

จำนวนรายงานสถานการณ์โรคประจำเดือนที่จัดทำเผยแพร่ในรอบ 12 เดือน

การจัดรายงานสถานการณ์โรค

เพื่อขยายขนาดเครือข่ายเฝ้าระวังของทีม SRRT ให้ครอบคลุมพื้นที่ที่รับผิดชอบให้มากที่สุด
การรายงาน รง.506 ทุกวัน
ทางกล่องรับ-ส่งหนังสือ   Web site สสจเลย
ส่งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของเครือข่ายทุกแห่งอบรมเข้าอบรมการใช้โปรแกรม


เพื่อกระตุ้นให้เครือข่ายเฝ้าระวังมีความตื่นตัวตลอดเวลา

ความทันเวลาของการรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังตามเกณฑ์
ส่งเจ้าหน้าที่เครือข่ายอบรมการใช้โปรแกรม

เพื่อพัฒนาระบบเตือนภัยทางระบาดวิทยาของทีม SRRT ทุกระดับ

การแจ้งเตือนภัยจากการตรวจสอบสถานการณ์โรค


เพื่อพัฒนาและสนับสนุนให้มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและองค์ความรู้ระหว่างเครือข่าย

การทราบข่าวเตือนภัยและองค์ความรู้เครือข่ายอิเลคทรอนิคส์
สมัครเป็นสมาชิกเครือข่าย

ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ/
ความท้าทายที่สำคัญ
เป้าหมาย/วัตถุประสงค์
ตัวชี้วัดและผลลัพธ์
กิจกรรมการพัฒนา
การสอบสวนโรค
เพื่อเพิ่มจำนวนการสอบสวนโรคที่ผู้ป่วยแต่ละรายมีความสำคัญสูง

ความครบถ้วนของสอบสวนโรคผู้ป่วยเฉพาะรายในพื้นที่รับผิดชอบ
ส่งเจ้าหน้าที่เข้าอบรม

เพื่อพัฒนาความรวดเร็วในการเตือนภัยยามฉุกเฉินภายในเครือข่ายของทีม


ความทันเวลาการรับแจ้งข่าวการระบาด
-ต้องแจ้งข่าวการระบาดภายใน 24 ชั่วโมง นับจากวันที่ได้รับแจ้ง
-ตรวจสอบทะเบียนแจ้งข่าวการระบาด




เพื่อเพิ่มจำนวนการสอบสวนการระบาดให้มีความครบถ้วนมากที่สุด
ความครบถ้วนของการสอบสวนการระบาดในพื้นที่รับผิดชอบ
การสอบสวนโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา




เพื่อพัฒนาคุณภาพการสอบสวนโรค
การสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ
การสอบสวนที่สามารถหาสาเหตุและแหล่งโรคหรือที่มาของการระบาดได้




เพื่อพัฒนาคุณภาพของการเขียนรายงานการสอบสวนโรค

การเขียนรายงานการสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ

รูปแบบการเขียนรายงานถูกต้อง มีข้อเสนอแนะ และส่งรายงานทันเวลา








ข่ายงานการเฝ้าระวังโรคติดต่อในโรงพยาบาลภูกระดึง
กรณีพบ : ผู้ป่วยไข้เลือดออก , มือเท้าปาก , เลปโตสไปโรซีส ,วัณโรค , หัด , คอตีบ , อุจจาระร่วงอย่างแรง , สงสัยโรคไข้หวัดนก , โรคซาร์  หรือโรคระบาดอื่นๆ ที่เสี่ยงต่อผลกระทบด้านสุขภาพที่รุนแรงให้ทุกหน่วยปฏิบัติดังนี้.-
ในเวลาราชการ (จันทร์-ศุกร์)
เวรบ่ายดึก
วันหยุดราชการ
-งานผู้ป่วยนอก , งานผู้ป่วยใน
พบ Case แจ้งกลุ่มงานเวชศาสตร์ฯ
1.ผู้ป่วยนอก ส่งกลุ่มงานเวชศาสตร์ฯ
เพื่อให้คำแนะนำและสอบสวนโรคเฉพาะราย
2.ผู้ป่วยใน แจ้งกลุ่มงานเวชศาสตร์ฯ เพื่อสอบสวนโรค
3.กลุ่มงานเวชศาสตร์ฯ แจ้งข้อมูลการเกิดให้ สสอ. เพื่อดำเนินการควบคุมโรคในพื้นที่และรายงานให้ งานระบาดวิทยา สสจ. ทราบ
4.ผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบของ รพ. กลุ่มงานเวชศาสตร์ฯ ดำเนินการสอบสวนโรคในพื้นที่
5.กรณีผู้ป่วยนอกเขตรับผิดชอบของ รพ. แจ้งให้ สสอ.ทราบ เพื่อแจ้งให้ รพ.สต.ดำเนินการสอบสวนโรค
6.กลุ่มงานเวชศาสตร์ฯ จัดทำ รง.506 ส่งให้ศูนย์ระบาด สสจ.
7.สรุปรายงานสถานการณ์โรคและการสอบสวนโรค










-กรณีพบ Case ในเวรบ่าย-ดึก ให้ Admit ไว้ทุกราย และสอบสวนโรคในวันรุ่งขึ้น

-พยาบาลหัวหน้าเวร แจ้งข้อมูลผู้ป่วยให้กลุ่มงานเวชศาสตร์ฯ ทราบในวันรุ่งขึ้น หรือหากคาดการณ์ว่าสถานการณ์มีความรุนแรงมากก็สามารถแจ้งได้ทันที โดยติดต่อ จนท.กลุ่มงานเวชศาสตร์ฯ ตามลำดับดังนี้
1.นายนรินทร์  ฮามพิทักษ์
  (081-8676719)
2.นายธีระศักดิ์  พลซา
  (080-0072737)
3.นางสุมาลี  จันทจุล
  (084-3892319)
4.นายสมพงษ์  วงษ์เวียน
  (086-2341842)


-พยาบาลหัวหน้าเวร แจ้งข้อมูลการเกิดโรคทางโทรศัพท์ให้กลุ่มงานเวชศาสตร์ฯทราบ เพื่อแจ้งข้อมูลการเกิดโรคให้พื้นที่ทราบ หรือ สสอ. ทราบด้วย


กระบวนการทำงาน
กระบวนการสำคัญ
 (Key Process)
ความเสี่ยงที่สำคัญ
(Key Risk)
ตัวชี้วัด
งานเฝ้าระวังโรคติดต่อ
1.การตรวจสอบการเกิดโรคหรือการระบาดจากแหล่งข้อมูลทั้งภายนอกและภายใน โรงพยาบาล

2.การบึกทึกรายงาน 506




3.การวิเคราะห์ข้อมูลและคาดคะเนสถานการณ์





4.การนำเสนอข้อมูล




ความบกพร่องและคลาดเคลื่อนที่ในรายงานโรคจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


ความผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลจากหน่วยงานรักษาพยาบาล



การรายงานโรคล่าช้า วิเคราะห์ข้อมูลผิดพลาด และใช้สถิติทางระบาดวิทยาที่ไม่เหมาะสม




มีการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง สร้างความตื่นตระหนกให้กับประชาชน

-โรคที่จะรายงานเป็นโรคติดต่อต้องเข้าได้กับนิยามโรคติดต่อ หรือผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ

-ข้อมูลที่จะนำมาลงรายงาน 506 ต้องได้รับการตรวจสอบจากผู้รับผิดชอบงานระบาดอีกครั้ง  โดยดูรายละเอียดจากโปรแกรม Hos XP

-มีรายงานสถานการณ์โรคที่รวดเร็ว เป็นปัจจุบัน โดยบันทึกในโปรแกรม R 506 มีความทันเวลามากกว่าร้อยละ 80 และนำข้อมูลที่ได้จากวิเคราะห์จัดทำจดหมายข่าวระบาดวิทยาทุกเดือน

-ข่าวสารระบาดที่จะนำออกเผยแพร่ต้องเป็นเอกสารที่จัดทำโดยงานระบาดวิทยา หรือมีการตรวจสอบอ้างอิงแหล่งข้อมูลชัดเจน


งานสอบสวนโรค
1.การสอบสวนโรค



2.การเขียนรายงานสอบสวนโรค



รายละเอียดข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน


เนื้อหาไม่ครอบคลุมประเด็นชัดเจน


-ผู้ป่วยโรคติดต่อทุกรายต้องได้รับการสอบสวนหาสาเหตุครบ 100 %

-ทีม SRRT ระดับตำบลต้องมีผลงานการสอบสวนโรคฉบับสมบูรณ์อย่างน้อย 1 เรื่องต่อปี



กระบวนการสำคัญ
 (Key Process)
ความเสี่ยงที่สำคัญ
(Key Risk)
ตัวชี้วัด
งานควบคุมป้องกันโรค
1.ในโรงพยาบาล





2.ในชุมชน





-บุคลากรในโรงพยาบาลติดเชื้อจากผู้ป่วย
-ผู้ป่วยอื่นหรือญาติที่เฝ้าไข้ได้รับเชื้อ



-พบการระบาดที่ยากต่อการควบคุมโรคในชุมชน




-บุคลากรในโรงพยาบาลมีการใช้อุปกรณ์ PPE ในการป้องกันการติดเชื้อเมื่อสัมผัสผู้ป่วยโรคติดต่อทุกราย
-ระบบการรองรับผู้ป่วยผ่านเกณฑ์มาตรฐานงาน IC และอาชีวอนามัย

-ดำเนินการควบคุมโรคหลังพบผู้ป่วย Index case และต้องควบคุมเพื่อไม่ให้พบผู้ป่วยรายใหม่















แผนภูมิกระบวนการทำงาน 
กระบวนการทำงาน (Top-Down Flow Chart)
งานระบาดวิทยาและควบคุมโรคติดต่อ
1.เตรียมงบประมาณ
2.เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์
3.เตรียมบุคลากร
4.เฝ้าระวังการเกิดโรค
5.กำหนดพื้นที่เสี่ยงตามเกณฑ์  


 
ขั้นเตรียมการ

 
1.รับรายงานการเกิดโรค
2.ดำเนินการสอบสวนโรค
/
 
การสอบสวนโรค

 
การควบคุมโรค
 
1.ประสานพื้นที่
2.จัดเตรียมสถานที่/ชุมชน
3.เตรียมบุคลากร
4.ดำเนินการควบคุมโรค
               
 
การรายงานผล
 
1.จัดทำรายงานสอบสวนโรค
2.เสนอผู้บังคับบัญชา
 
 


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น