Service Profile
ชื่อ หน่วยงาน ห้องคลอด
......................................................
1. บริบท (Context)
ก.
หน้าที่และเป้าหมาย
ชื่อหน่วยงาน งานห้องคลอด
กลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลภูกระดึง จังหวัดเลย
ความมุ่งหมาย/เจตจำนงของหน่วยงาน (Purpose
Statement)
บริการคลอดที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน
ผู้รับบริการพึงพอใจส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัว
ข.
ขอบเขตการให้บริการ
1. ให้บริการทำคลอดทั้งในภาวะปกติ
ผิดปกติและกรณีคลอดฉุกเฉิน
2. ให้บริการพยาบาลทั้งในระยะรอคลอด
ระยะคลอดและระยะหลังคลอด 2 ชั่วโมง
3. ไม่ให้บริการผ่าตัดคลอด
4. ให้การรักษาพยาบาลมารดาตั้งครรภ์ครบกำหนด
(อายุครรภ์ 37-41 สัปดาห์) มีอาการนำของการคลอดและหลังคลอด 2 ชั่วโมง
5. ให้การรักษาพยาบาลผู้คลอดระหว่างต่อไปยังโรงพยาบาลเลย
6.
ให้การรักษาพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนระยะสุดท้ายของการคลอด (รกค้าง)
7. ให้การรักษาพยาบาลทารกแรกเกิด จนกระทั่ง 2
ชั่วโมง หลังคลอด
ง. ประเมินคุณภาพที่สำคัญ
ด้านผู้รับบริการ
มารดาและทารกได้รับบริการที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน
ผู้รับบริการพึงพอใจ ปลอดภัยทั้งในรายที่คลอดปกติและผิดปกติ
ป้องกันรักษาและแก้ไขเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ถูกต้องและทันท่วงที
ตั้งแต่ระยะรอคลอด ระยะคลอดและระยะหลังคลอด 2 ชม. ส่งเสริมสายสัมพันธ์แม่ลูก
ด้านผู้ให้บริการ
ผู้ให้บริการมีความรู้และมีทักษะในการปฏิบัติงานทางสูติกรรมและการดูแลช่วยชีวิตมารดาทารกที่มีภาวะวิกฤต
โดยผ่านการทบทวนเทคนิคการปฏิบัติงานปีละ 2 ครั้ง
ใส่ใจและมีความสุขในการทำงานเฝ้าระวังในการค้นหาปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน
จ. ความท้าท้ายและความเสี่ยงสำคัญ (จุดเน้นในการพัฒนา)
1. ความท้าทาย
1.1 ลดอัตราการเกิดภาวะ Birth Asphyxia
1.2 ลดอัตราการตกเลือดหลังคลอด
1.3 ลดอัตราการเกิดภาวะ Hypothermia
1.4 ลดอัตราการติดเชื้อที่สะดือทารก
2. ความเสี่ยงสำคัญ
2.1 การตกเลือดหลังคลอด
2.2 ทารกมีภาวะ Hypothermia ขณะอยู่ในห้องคลอดและหลังย้ายเข้าตึกหลังคลอด
2.3 ประเมินความเสี่ยงไม่ได้กรณีส่วนนำผิดปกติ
3. มาตรการจัดการความเสี่ยง
3.1 มารดาตกเลือดหลังคลอด
- ทบทวนแนวทางการดูแลผู้คลอดที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด
- ทบทวนการดูแลผู้คลอด ระยะที่ 3 ของการคลอดและ
2 ชม. หลังคลอด
3.2 ทารกที่ภาวะ Hypothermia
- ทบทวนการดูแลทารก เพื่อป้องกันภาวะ Hypothermia
-
ทบทวนการเคลื่อนย้ายทารกและเด็กไปตึกหลังคลอดและขณะ Refer
3.3 ประเมินความเสี่ยงไม่ได้
- ทบทวนการฝากครรภ์และการตรวจภายใน
ทรัพยากรบุคคล รวมทั้งสิ้น …3…. คน
ประเภทของบุคลากร
|
จำนวนบุคลากรที่จำเป็น
|
จำนวนบุคลากรที่มีจริง
|
ส่วนขาด
|
การบริหารจัดการเมื่อบุคลากรไม่เพียงพอ
|
พยาบาล
|
2
|
2
|
-
|
ในกรณีมีคลอด อัตรากำลังเวรเช้าใช้ร่วมกับห้องER
ถ้าไม่มีคลอดทำงานที่OPD
|
ผู้ช่วยเหลือคนไข้
|
1
|
1
|
-
|
ใช้อัตรากำลังร่วมกับ
OPD(ในเวลาราชการ)
|
คนงาน
|
-
|
-
|
-
|
ใช้อัตรากำลังร่วมกับ OPD(ในเวลาราชการ)
|
รวม
|
3
|
3
|
-
|
เครื่องมือ เทคโนโลยี
ชนิดของเครื่องมือ
|
จำนวนที่จำเป็น
|
จำนวนที่มีจริง
|
ส่วนขาด
|
การบริหารจัดการเมื่อเครื่องมือไม่เพียงพอ
|
|
1
|
NST
|
1
|
2
|
-
|
|
2
|
Radiant warmer
|
1
|
1
|
-
|
ได้รับการจัดซื้อเครื่องที่สามารถปรับอุณหภูมิได้
|
3
|
เครื่องฟังเสียงหายใจทารก
|
3
|
3
|
-
|
|
4
|
เครื่องดูดสูญญากาศ
|
1
|
1
|
-
|
|
5
|
เครื่อง Suction
|
1
|
1
|
-
|
กระบวนการสำคัญ (Key Process)
กระบวนการสำคัญ
(Key
Process)
|
สิ่งที่คาดหวังจากกระบวนการ
(Process
Requirement)
|
ตัวชี้วัดที่สำคัญ
(Performance
Indicator)
|
1.) การรับผู้มาคลอด
1.1) การระบุตัวบุคคล
1.2)การประเมินความเสี่ยงแรกรับ
-ข้อมูลจากสมุดฝากครรภ์
-การซักประวัติ,ตรวจร่างกาย,ตรวจชันสูตร,ตรวจพิเศษ
-การประเมินอาการและอาการแสดง
-การบันทึกข้อมูล
1.3)การปฐมนิเทศ
1.4)การเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย,จิตใจ
1.5)การช่วยเหลือการคลอดฉุกเฉินกรณีคลอดก่อนมาโรงพยาบาล
1.6)การส่งต่อผู้คลอด
|
-ผู้มาคลอดได้รับการประเมินความเสี่ยงอย่างถูกต้องตั้งแต่
แรกรับ
-ผู้มาคลอดกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาซับซ้อนได้รับการดูแลมาตรฐานอย่างต่อเนื่องโดยทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
ตามสภาพปัญหาของผู้ป่วยแต่ละราย
-ผู้มาคลอดได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีในกรณีคลอดก่อนมาโรงพยาบาล
-ผู้มาคลอดได้รับการส่งต่ออย่างทันท่วงทีในกรณีที่ไม่สามารถในการรักษาในโรงพยาบาลได้
|
-อัตราการประเมินความเสี่ยงผิดพลาดเป็น 0%
|
2.) การดูแลระยะเฝ้าคลอด
2.1)การใช้ Parthograph ในการเฝ้าระวังความก้าวหน้าของการคลอด
2.2)การดูแล High risk Pregnancy
2.3)การบรรเทาอาการเจ็บครรภ์คลอด
2.4)การช่วยชีวิตฉุกเฉิน
|
-ผู้มาคลอด ได้รับการแก้ไขปัญหา/ความผิดปกติ
ในระยะรอคลอดอย่างต่อเนื่อง
-ผู้มาคลอดได้รับการเฝ้าระวังความก้าวหน้าของการเจ็บครรภ์ตามมาตรฐานการเฝ้าคลอด
-ผู้มาคลอดได้รับการช่วยเหลือในการเผชิญความเจ็บปวดอย่างเหมาะสมและปฏิบัติตัว
|
-อุบัติการณ์คลอดบนเตียงเป็น 0%
-อุบัติการณ์เกิดTetanic Contraction จากการใช้ยาเร่งคลอด เป็น 0%
-แบบประเมินความพึงพอใจในระยะรอคลอด≥80%
|
กระบวนการสำคัญ
(Key
Process)
|
สิ่งที่คาดหวังจากกระบวนการ
(Process
Requirement)
|
ตัวชี้วัดที่สำคัญ
(Performance
Indicator)
|
ได้อย่างถูกต้อง เพื่อคลายความวิตกกังวล
-ผู้มาคลอดได้รับการช่วยเหลือทันที
เมื่อพบความผิดปกติขณะรอคลอด
-ผู้คลอดและญาติได้รับข้อมูล
เกี่ยวกับการคลอดเป็นระยะ
|
||
3. การดูแลระยะคลอด
3.1)การเตรียมผู้คลอด
3.2)การเตรียมตัวผู้ทำคลอด
3.3)การทำคลอด
3.4)การช่วยเหลือในการทำสูติศาสตร์หัตถการ
3.5)การดูแลทารกแรกเกิด
3.6)การช่วยชีวิตฉุกเฉิน
3.7)การระบุตัวทารก
|
-ผู้คลอดและทารกผ่านกระบวนการคลอดได้อย่างปลอดภัย
-ผู้คลอดและทารกได้รับการช่วยเหลือในกรณีระยะเวลาการคลอดเนิ่นนานอย่างเหมาะสมทันเวลา
-ผู้คลอดและทารกได้รับความช่วยเหลือในการทำสูติศาสตร์
หัตถการที่ถูกต้องและรวดเร็ว
-ผู้คลอดและทารกได้รับความช่วยชีวิตฉุกเฉิน
-ผู้คลอดและทารกปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้
เช่น Birth asphyxia,รกค้าง(Retained Placenta)
-ทารกแรกคลอดได้รับการระบุตัวอย่างถูกต้องตามแนวทางปฏิบัติที่กำหนด
|
-อัตราการตายมารดาเป็น 0%
-อัตราตายปริกำเนิด
<9:1,000 การเกิดมีชีพ
-อัตราภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด(Birth
asphyxia)
< 25:1,000 การเกิดมีชีพ
-อุบัติการณ์การระบุตัวทารกผิดพลาดเป็น 0%
|
กระบวนการสำคัญ
(Key
Process)
|
สิ่งที่คาดหวังจากกระบวนการ
(Process
Requirement)
|
ตัวชี้วัดที่สำคัญ
(Performance
Indicator)
|
4.) การดูแลระยะหลังคลอด 2ชั่วโมง
4.1)การดูแลมารดาและทารกหลังคลอด
4.2)การให้สุขศึกษา
4.3)มารดาและทารกได้รับการส่งต่อไปยังตึกหลังคลอดตามมาตรฐานเมื่อครบย้าย
4.4)มารดาและทารกได้รับการส่งต่อกรณีที่มีภาวะแทรกซ้อนตามมาตรฐานการ Refer
|
-มารดาและทารกสุขสบายและปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ในระยะหลังคลอด
เช่น ภาวะอุณหภูมิกายต่ำในทารกแรกเกิด(Hypothermia) และภาวะตกเลือดหลังคลอด
(Post Partum Hemorrhage)
-มารดาและทารกได้รับการช่วยเหลือเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือภาวะฉุกเฉินหลังคลอด
2 ชั่วโมง ได้อย่างทันท่วงที
-มารดามีความรู้ความสามารถในการดูแลตนเองและบุตรได้อย่างถูกต้อง
-มารดาและทารกได้รับการส่งต่อข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วน
และได้รับการส่งต่ออย่างปลอดภัยและถูกต้องตามมาตรฐานการ Refer
-มารดาทราบอาการผิดปกติที่ต้องรีบแจ้งพยาบาล
เช่น ตกเลือดหลังคลอด
|
-อัตราการตกเลือดหลังคลอดเป็น ≤ 5%
-อัตราการเกิดภาวะ Hypothermia ในทารกหลังคลอด 2 ชั่วโมง เป็น 3%
|
5.) กิจกรรมคู่ขนาน
5.1)การบันทึกทางการพยาบาล
5.2)การพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย
|
-เพื่อเป็นหลักฐานและมาตรฐานในการดูแลผู้คลอด
-ผู้คลอดทุกรายได้รับการปฏิบัติในฐานะปัจเจกบุคคล
|
-จำนวนข้อร้องเรียน/ฟ้องร้อง
|
กระบวนการสำคัญ
(Key
Process)
|
สิ่งที่คาดหวังจากกระบวนการ
(Process
Requirement)
|
ตัวชี้วัดที่สำคัญ
(Performance
Indicator)
|
5.3)การดูแลความปลอดภัย
5.5)การดูแลรักษาเครื่องมืออุปกรณ์
5.6)การประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ เช่น ANC,ตึกหลังคลอด,PCU,สถานีอนามัย
|
-ผู้คลอด/ญาติมีสิทธิช่วยในการตัดสินใจในการรักษาพยาบาล
-บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานสูติกรรม
และมีทักษะในการดูแล ช่วยชีวิตของผู้ป่วยภาวะวิกฤตฉุกเฉิน
-ภายในหน่วยงานมีการจัดเตรียม
เครื่องมืออุปกรณ์เพียงพอและพร้อมใช้งาน
-มีการส่งต่อข้อมูลอย่างถูกต้อง
ครบถ้วนระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานสูติกรรม
-เมื่อให้ผู้คลอดได้รับการดูแลและเฝ้าระวังในภาวะเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง
-เมื่อเกิดข้อผิดพลาดในการดูแลผู้คลอดมีการ Conference
เพื่อหาแนวทางป้องกัน แก้ไข ปัญหาร่วมกัน
|
-อุบัติการณ์การติดเชื้อ/บาดเจ็บ
จากการทำงานของบุคลากรและผู้คลอด
|
3. เครื่องชี้วัดคุณภาพของหน่วยงาน
ตัวชี้วัด
|
เป้า
|
ผลงาน3
ปีย้อนหลัง
|
||
2555
|
2556
|
2557
|
||
1.จำนวนคลอดทั้งหมด
2.จำนวนทารกเกิดมีชีพทั้งหมด
3.จำนวนทารกที่เกิดภาวะ Birth asphyxia
1. ลูกเกิดรอด
1.1 อัตราการเกิด Birth asphyxia
1.2 อัตราการติดเชื้อ-
-สะดือของทารกแรกเกิด –30 วัน
-ตาของทารกแรกเกิด –30 วัน
1.3จำนวนอุบัติการณ์ระบุทารกผิด
2. มีความปลอดภัยจากการคลอด
2.1อุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้จากการคลอดและการเฝ้าระวัง
-ประเมินความเสี่ยงผิดพลาด
-คลอดที่ห้องรอคลอด
-Tetanic contraction จากการใช้ยาเร่งคลอด
-uterine rupture
-มดลูกปลิ้น
-Tear Rectum
-Hematoma ที่แผลฝีเย็บ
-PPH
-อัตราการตายของมารดา
-อัตราการตายปริกำเนิด
-อัตราการติดเชื้อ Perineum/แผลแยก
3. จำนวนทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2500
กรัม
|
25/1000
การเกิดมีชีพ
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
≤5%
18 : 1,000
9/1,000
0
≤7%
|
330
330
1
0.30
0
0
0
0.2
0
0.3
0
0
0
0
0
1.23
0
0
0
5.75
|
297
297
3
1.01
0
0
0
0.2
0
0.6
0
0
0
0
0
1.14
0
0
0.3
4
|
250
250
2
0.80
0
0
0
2
0
0
0
0
2
0.80
0
0
0.5
2.83
|
ตัวชี้วัด
|
เป้า
|
ผลงาน
3 ปี ย้อนหลัง
|
||
2555
|
2556
|
2557
|
||
4. จำนวนอุบัติการณ์การเกิดความผิดพลาดใน
การใช้ยาหรือให้เลือด สารน้ำ (Medication
error)
5.พึงพอใจบริการ
-อัตราความพึงพอใจ
-จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมบริการ
6.
มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถและมีความสุขในการทำงาน
-ร้อยละของการประเมินความรู้
ความสามารถของเจ้าหน้าที่ห้องคลอด
-ร้อยละของการประเมินบรรยากาศการทำงานระดับดี
ดีมาก
-อัตราการติดเชื้อจากการปฏิบัติงาน
-อัตราการเจ็บป่วยจากการปฏิบัติงาน
|
0
≥ 85%
0
≥
60%
≥
75 %
0
0
|
0
82
0
70
78
0
0
|
0
86
0
75
80
0
0
|
0
0
80
80
0
0
|
4. กระบวนการหรือระบบงานเพื่อบรรลุเป้าหมายและมีคุณภาพ
4.1 งานสายสัมพันธ์แม่ลูก/โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
เริ่มดำเนินการ : เดือน มิ.ย.2546–
ปัจจุบัน
แนวคิด : ส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก
กิจกรรม : 1. กระตุ้นให้ทารกดูดนมแม่ภายใน 30
นาทีแรกหลังคลอด
2.
ส่งเสริมให้มารดาทารกได้โอบกอดและอยู่ด้วยกันตลอด 24 ชั่วโมง
3.
ส่งเสริมให้มารดาให้นมบุตรทุก 2 ชั่วโมง หลังคลอดหรือบ่อยเท่าที่เด็กต้องการ
4.
ให้ความรู้และคำแนะนำ เรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แก่มารดาหลังคลอด
สามีและครอบครัวทุกรายและประเมินผลทุกครั้ง หากยังไม่เข้าใจให้ความรู้และให้คำแนะนำซ้ำ
5.ประชุมMCH ของโรงพยาบาลเตรียมพร้อมรับการประเมิน รพ
สายใยรักแห่งครอบครัว
ผลลัพธ์ :ผ่านการประเมินเป็นโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ปี 2557
4.1.2 การลดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด
เริ่มดำเนินการ : เดือน มิ.ย.2546 –
ปัจจุบัน
แนวคิด : ลดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด
เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลังเกิดภาวะขาด ออกซิเจน
1.ทบทวนคณะกรรมการและกำหนดนโยบายดำเนินงานทุกปี
2.
ประชุมและอบรมผู้เกี่ยวข้องให้ทราบนโยบายและแนวทางปฏิบัติ
3.
Conference case ทบทวนอุบัติการณ์ ทบทวนมาตรฐานและแนวทางปฏิบัติ
4.
การประเมินผลและรายงานข้อมูลทุกเดือน
ผลลัพธ์ : อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด ภายหลังเป็นการลดลง
ปีงบประมาณ 2556-2557 เท่ากับ 1.01 และ0.80 ตามลำดับ ผ่านการรับรองเป็นโรงพยาบาลลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
ตั้งแต่ ปี 2550 และผ่านการประเมินตามตัวชี้วัดของโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวในปี
2557
4.1 สรุปกิจกรรมที่ได้ทำไปแล้ว
การปรับเปลี่ยนและผลลัพธ์
กระบวนการสำคัญ
|
การปรับเปลี่ยน
|
ผลลัพธ์
|
1.โครงสร้างทางกายภาพ
|
-เปลี่ยนจากโถส้วมแบบนั่งยองๆมาเป็นชักโครก
-ปรับเปลี่ยนพื้นห้องน้ำแบบกระเบื้องขัดมันเป็นกระเบื้องที่มีผิวขรุขระแบบมีราวจับ
-จัดให้มีราวกั้นเตียงผู้ป่วยที่ห้องรอคลอด
เตียงคลอด
-จัดให้มีที่เหยียบขึ้นเตียงที่มีความมั่นคง
แข็งแรง
-
ย้าย Radiant
warmer
ให้มาอยู่ใต้เครื่องปรับอากาศ
|
-ผู้คลอดได้รับความสะดวกสบายและปลอดภัย
-ผู้คลอดปลอดภัยไม่มีอุบัติการณ์ลื่นล้มในห้องน้ำ
-ไม่มีอุบัติการณ์ผู้คลอดตกเตียง
-ผู้ป่วนปลอดภัยขณะขึ้น-ลง จากเตียง
-ป้องกันภาวะอุณหภูมิกายต่ำในทารกแรกเกิด
|
2.ระบบงาน
|
- ทบทวน Dead caseร่วมกันในทีม PCT
-จัดทำ CPG ร่วมกับแพทย์และมีการทบทวนการใช้
-ปรับปรุง พัฒนาการบันทึกทางการพยาบาล
- ปรับปรุง พัฒนา Phatograph
|
-มีการทำงานร่วมกันในทีม PCT
-เจ้าหน้าที่มีความมั่นใจในการปฏิบัติงานมากขึ้น
-การบันทึกครอบคลุมทุกระยะทางการคลอดและถูกต้องตามมาตรฐาน
|
3. เครื่องมืออุปกรณ์
|
-จัดให้มีเครื่องฟัง FHS และตรวจสอบการใช้งานทุกเวร
-จัดให้มีถังออกซิเจนประจำเตียงคลอดทุกเตียง รถแก้เด็ก ตรวจ check ทุกเวร
-จัดให้มีเครื่องปรับหยดน้ำเกลือ
กรณีที่ต้องใช้ยาเร่งคลอดหรือยับยั้งคลอด
|
อุปกรณ์เพียงพอ พร้อมใช้งาน
|
4. บุคลากร
|
-จัดอบรม CPR มารดาทารกปีละ
1 ครั้ง
-ทบทวน เทคนิคการปฏิบัติงานปีละ 2 ครั้ง
ส่งเจ้าหน้าที่ไปอบรมและฟังวิชาการงานสูติกรรม
|
-บุคลากรมีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน
|
4.2 การพัฒนาคุณภาพที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
|
ระบบงานที่ทำอยู่ปัจจุบัน
|
ผลลัพธ์ที่คาดว่าเกิดขึ้น
|
1. การลดภาวการณ์เกิด Birth asphyxia
2. การควบคุมอุณหภูมิกายทารกคลอดป้องกันภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
|
-ดุแลรับบริการคลอดโดยใช้แบบ Intra
Partum risk score
-ดูแลผู้รับบริการตามมาตรฐานการดูแลในระยะก่อนคลอด
-อบรมการช่วยฟื้นคืนชีพมารดาทารก 1ครั้ง/ปี
-ทบทวนเทคนิคปฏิบัติงาน เช่น
การช่วยคลอดติดไหล่ การช่วยทำหัตถการ การใช้ Parthograph การใช้
Meconium aspirator
-ปฏิบัติตามเทคนิคการช่วยฟื้นคืนชีพตาม CPG
-ให้ทารกอยู่ใต้ Radiant warmer 15-30 นาที
โดยเริ่มตั้งแต่ปากมดลูกเปิดหมด ใช้ผ้าอุ่นรับเด็กเช็ดแล้วทิ้ง 1 ผืน
-ห่อเด็กกลับด้วยผ้าขนหนู 2 ผืน
และใส่เสื้อผ้า สวมหมวก ถุงมือ ถุงเท้า
|
-อัตราการเกิดภาวะ Birth asphyxia ไม่เกิน 25/1000การเกิดมีชีพ
-อัตราการเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำน้อยกว่าร้อยละ 3
|
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
|
ระบบงานที่ทำอยู่ปัจจุบัน
|
ผลลัพธ์ที่คาดว่าเกิดขึ้น
|
3. การลดอัตราการติดเชื้อที่สะดือทารก
4. การป้องกันภาวะตกเลือด
|
-ใช้ชุดอวกาศ
-ให้ทารกดูดนมมารดาแบบเนื้อแนบเนื้อ
-ทบทวนเทคนิคการทำคลอดของเจ้าหน้าที่ประจำห้องคลอด
-เน้นการใช้หลัก Standard Precaution
ทุกขั้นตอนทางการทำคลอด
-วิเคราะห์หาสาเหตุและแก้ไขปัญหาร่วมกันในสหวิชาชีพ
เช่น แพทย์ พยาบาล เภสัชกร เรื่องน้ำยาเช็ดสะดือทารก,IC
-มีการประเมินความเสี่ยงได้รวดเร็วและถูกต้อง
-ในกรณีที่ระยะฝากครรภ์ ผล Hct<33% และใน case
Thallassemia ให้ Repeat Hct ทุกรายแรกรับ
-ถ้ามีการสูญเสียเลือดในระยะคลอด≥500 cc. ให้เจาะ Hct ทุกราย
-ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำกรณีเข้าระยะ Active phase ทุกราย
-ในรายที่ตกเลือดหลังคลอด มีการปฏิบัติตาม CPG PPH และทบทวนทุกรายที่เกิดอุบัติการณ์
|
-อัตราการติดเชื้อที่สะดือทารก เป็น 0
-อัตราการตกเลือดหลังคลอดลดลงในปี2556-2557เป็น 1.14และ
0.80 ตามลำดับ
|
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
|
ระบบงานที่ทำอยู่ปัจจุบัน
|
ผลลัพธ์ที่คาดว่าเกิดขึ้น
|
5. การดูแลแผลฝีเย็บเพื่อป้องกันการเกิด Hematoma แผลแยก/ติดเชื้อ
6. ผู้รับบริการและญาติปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องขาดการให้ข้อมูลสำคัญในบริการแรกรับและขณะรับการรักษา
|
-ทบทวนเทคนิคการเย็บแผลฝีเย็บ
ภายในเจ้าหน้าที่ห้องคลอด
-เน้นย้ำการทำความสะอาดฝีเย็บด้วยน้ำสะอาดกับผู้รับบริการทุกราย
-ประเมินแผล Hematoma 1-2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ถ้าพบต้องรีบแก้ไข
-ส่งต่อสถานีอนามัยและ PCU เพื่อติดตามเยี่ยมหลังคลอดทุกราย
-เก็บอุบัติการณ์การเกิดแผลติดเชื้อ/แผลแยก Hematomaในผู้ป่วยที่มารับบริการใน OPD
-ทบทวนวิธีการให้ข้อมูลโดยการแนะนำสถานที่
การปฏิบัติตัว การทิ้งขยะและระเบียบการเข้าเยี่ยมญาติ
-จัดแยกขยะติดเชื้อ
ไม่ติดเชื้อและถังใส่ผ้าที่ใช้แล้วไว้ในห้องคลอด
-ทบทวนแผนการรักษาพยาบาลให้ผู้รับบริการและญาติทราบและให้มีส่วนร่วมในการรักษาพยาบาล
|
ปี2557 พบแผลแยก 2 ราย
พบ hematoma
หลังเย็บแผล 2 ราย
-ไม่พบข้อร้องเรียน/ฟ้องร้อง
|
5.แผนการพัฒนาต่อเนื่อง
1. ลดอัตราการเกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด
2. ลดอัตราการตกเลือดหลังคลอด
3.ลดอัตราทารกตายหลังปริกำเนิด
4. ลดอัตราการติดเชื้อที่สะดือทารก
5. ผ่านการประเมินโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
6.
พัฒนาระบบบันทึกข้อมูลเพื่อการดูแลต่อเนื่องและการวิเคราะห์ข้อมูล
7.
มีระบบควบคุมและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ
8.
มีเครื่องมือที่ได้มาตรฐานเหมาะสมเพียงพอและพร้อมใช้งาน
9. พัฒนาระบบป้องกันและระวังอัคคีภัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น