1.
ชื่อผลงานการพัฒนาคุณภาพหรือการพัฒนาระบบงาน
:
นวัตกรรมอุปกรณ์จับยึดคาสเสทสำหรับถ่ายภาพรังสี
2.
คำสำคัญ :
ถ่ายภาพรังสี Lateral C-Spine ในผู้ป่วยอุบัติเหตุและถ่ายภาพรังสี Chest Lateral
Decubitus ไม่ได้มาตรฐาน
3.
สรุปผลงานโดยย่อ :
จากปัญหาที่เกิดจากการถ่ายภาพรังสี Lateral C-Spine,Skull Lateral Cross Tableในผู้ป่วยอุบัติเหตุและ Chest Lateral Decubitus ไม่ได้มาตรฐาน ไม่มีที่จับยึดคาสเสททำให้ฟิล์มเอียงหรือล้มทำให้การถ่ายภาพรังสีไม่ได้มาตรฐานและบางครั้งต้องให้ญาติผู้ป่วยยืนจับคาสเสทไว้ขณะถ่ายภาพรังสีและญาติโดนแสงเอ็กซเรย์โดยไม่จำเป็น
ทำให้การถ่ายภาพรังสีสะดวกรวดเร็วมีคุณภาพยิ่งขึ้นและไม่ต้องใช้ญาติผู้ป่วยถูกรังสีโดยไม่จำเป็น
![]() |
อุปกรณ์จับยึดสำหรับฉายภาพรังสี |
4.
ชื่อและที่อยู่ขององค์กร
:
งานรังสีวินิจฉัย กลุ่มงานรังสิวิทยา โรงพยาบาลภูกระดึง จังหวัดเลย
5.
สมาชิกทีม :
5.1 นายสมพงษ์ ชาติชำนิ เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ชำนาญงาน
5.2 นายณรงค์เดช สิทธิมงคล นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ
5.3 นายยงยุทธ เมืองดี เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ
5.4 นายศุภชัย
กันแพงศรี พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค
6.
เป้าหมาย :
เจ้าหน้าที่ทำการถ่ายภาพรังสีได้สะดวก รวดเร็ว
มีมาตรฐานยิ่งขึ้นและญาติผู้ป่วยไม่ถูกแสงเอ็กซเรย์โดยไม่จำเป็น
7.
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ :
ขณะทำการถ่ายภาพรังสีให้ผู้ป่วย
คาสเสทเอียงไม่ตั้งฉากกับแสงเอ็กซเรย์และถ้าให้ญาติผู้ป่วยจับก็จะถูกแสงเอ็กซเรย์ถึงแม้ว่าจะสวมเสื้อตะกั่วก็ตาม ทำให้บ้างครั้งฟิล์มที่ออกมาไม่ได้มาตรฐานต้องทำการถ่ายใหม่และญาติผู้ป่วยโดนแสงโดยไม่จำเป็น
ทำให้การบริการล่าช้าไม่ได้มาตรฐาน
8.
การเปลี่ยนแปลง :
ทำให้ถ่ายถ่ายภาพรังสีได้สะดวก
รวดเร็วและได้มาตรฐานยิ่งขึ้น
(ดังรูป) ซึ่งเป็นการลดอัตราฟิล์มเสียและป้องกันรังสีให้กับเจ้าหน้าที่และญาติผู้ป่วยด้วย
9.
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง :
อัตราฟิล์มเสียจากถ่ายภาพรังสีที่ใช้อุปกรณ์ที่จับยึดคาสเสทลดลงและไม่ต้องใช้เจ้าหน้าที่หรือญาติจับคาสเสท
อัตราฟิล์มเสีย แผนกรังสีวินิจฉัย
งานรังสีวิทยา
|
|||||||
ปี 2555-2557
|
|||||||
เดือน
|
มีนาคม
|
มิถุนายน
|
กันยายน
|
ธันวาคม
|
รวม
|
||
อัตราฟิล์มเสียปี 2555 (%)
|
1.45
|
0.69
|
1.04
|
0.51
|
0.95
|
||
อัตราฟิล์มเสียปี 2556 (%)
|
0.51
|
0.61
|
1.49
|
0.73
|
0.77
|
||
อัตราฟิล์มเสียปี 2557 (%)
|
0.96
|
0.63
|
1.49
|
0.73
|
0.95
|
||
10.
บทเรียนที่ได้รับ :
การถ่ายภาพรังสีในท่าดังกล่าวข้างต้น ต้องใช้ความชำนาญเป็นพิเศษ
เนื่องจากผู้ป่วยไม่พร้อมที่จะทำการถ่ายภาพรังสีบางครั้งไม่รู้สึกตัว เมาสุราบ้าง
ดิ้นไม่อยู่นิ่งบ้าง ไม่อยู่นิ่ง ทำให้จับลำบากต้องใช้ความรวดเร็ว หลังจากที่ใช้อุปกรณ์จับยึดคาสเสททำให้ทำการถ่ายภาพรังสีสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
เจ้าหน้าที่หรือญาติผู้ป่วยไม่ถูกแสงเอ็กซเรย์โดยไม่จำเป็น
11.
การติดต่อกับทีมงาน :
นายสมพงษ์ ชาติชำนิ
ตำแหน่งเจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ชำนาญงาน
งานรังสีวินิจฉัย
โรงพยาบาลภูกระดึง จังหวัดเลย
โทร.
(042) 871076-7 ,โทรสาร (042) 871016
มือถือ
081-9749028,084-0320418
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น