IM Update 8 กันยายน 2558

Service Profile  งานสารสนเทศทางการแพทย์

1. ชื่อหน่วยงาน   งานสารสนเทศทางการแพทย์และเทคโนโลยี
2. ความมุ่งหมายของหน่วยงาน
                พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริหาร   ผู้ให้บริการ  และผู้รับบริการ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา ตรวจสอบได้และช่วยลดขั้นตอนการทำงาน  พิทักษ์สิทธิ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง

3. ขอบเขตการให้บริการ
1.             ควบคุมดูและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครื่องแม่ข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.             ดูแลและแก้ไขปัญหาทางเทคนิคคอมพิวเตอร์ ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ และบุคลากร ให้ทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง
3.             จัดการอบรมให้กับบุคลากรในเรื่องที่เกี่ยวกับการใช้งานสารสนเทศของโรงพยาบาลตามความเหมาะสม
4.              พัฒนาโปรแกรม สร้างฐานข้อมูล และระบบรายงานข้อมูลด้านสาธารณสุข เพื่อการใช้งานและตอบสองความต้องการข้อผู้บริหาร ผู้ให้บริการ  และผู้รับบริการ
5.              เชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศแต่ละหน่วยงานให้สามารถใช้สารสนเทศร่วมกันได้        

 ผู้รับผลงานและความต้องการที่สำคัญ(จำแนกตามกลุ่มผู้รับผลงาน)
ผู้รับผลงาน
ความต้องการที่สำคัญ
1. ผู้ป่วย
มีระบบคอมพิวเตอร์ที่เอื้อต่อการรักษา และลดระยะเวลารอรับบริการ
2. ญาติผู้ป่วย
สามารถให้บริการสารเทศแก่ญาติผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ลูกค้าภายนอกโรงพยาบาล
มีระบบข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง รวดเร็ว เป็นปัจจุบัน
4. ผู้ร่วมงานในโรงพยาบาล
1. มีระบบคอมพิวเตอร์ที่เอื้อต่อการรักษา และลดระยะเวลารอรับบริการ
2. มีระบบสังเคราะห์สารสนเทศ เพื่อสนับสนุนตัวชี้วัดของระบบงาน และระบบรายงานอื่นๆ
3. มีการนำระบบคอมพิวเตอร์ที่มาช่วยในการติดตามประวัติ และการให้บริการ


  
4. ปริมาณงานและทรัพยากร (คน  เทคโนโลยี เครื่องมือ)
4.1 ปริมาณงาน
                1. ดูแลบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย จำนวน 3 เครื่องให้สามารถทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง
                2. ดูแลบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย จำนวน 51 เครื่อง ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
                3. ให้คำแนะนำให้คำปรึกษาด้านการใช้งานด้านเทคโนโลยีกับหน่วยบริการ 31 หน่วยงานทั้งโรงพยาบาล
                4. จัดทำรายงานให้กับหน่วยบริการภายในโรงพยาบาลตามที่ร้องขอ

4.2. อัตรากำลัง
ตำแหน่ง หน้าที่
จำนวน
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
เจ้าพนักงานเครื่องงานคอมพิวเตอร์
1
1
4.3 เครื่องมือ
รายการเครื่องมือที่สำคัญ
จำนวน
ระบบการดูแลรักษาเครื่องมือ
1. เครื่องแม่ข่ายหลัก (Server) สำหรับโปรแกรมHOSxP
1
1. เปิดแอร์ให้ห้องเก็บ Server ตลอด 24 ชม.  
2. ทำการเป่าฝุ่นเครื่อง Server ปีละ 4 ครั้ง
3. ติดเครื่องสำรองไฟฟ้าให้กับเครื่อง Server ขนาด  1200  KVA
4. เก็บเครื่อง Server ไว้ในตู้เก็บอย่างดีพร้อมล็อคกุญแจ
2. เครื่องสำรองข้อมูลจาก Server HOSxP
2
1. เปิดแอร์ให้ห้องเก็บ Server ตลอด 24 ชม.
2. ทำการเป่าฝุ่นเครื่อง Server ปีละ 4 ครั้ง
3. ติดเครื่องสำรองไฟฟ้าให้กับเครื่อง Server
3. เครื่องแม่ข่ายเก็บ Log Files ในการแชร์ และเข้าใช้ Internet  
1
1. เปิดแอร์ให้ห้องเก็บ Server ตลอด 24 ชม.
2. ทำการเป่าฝุ่นเครื่อง Server ปีละ 1 ครั้ง
3. ติดเครื่องสำรองไฟฟ้าให้กับเครื่อง Server
4. เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย
51
1. ติดตั้งโปรแกรม Anti virus ทุกเครื่อง
2. ทำการเป่าฝุ่นเครื่องคอมพิวเตอร์ เดือนละครั้ง
3. ติดเครื่องสำรองไฟฟ้าทุกตัวและสามารถใช้งานได้ปกติ
5. เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Notebook)
5
- ติดตั้งโปรแกรม Anti virus ทุกเครื่อง
7. อุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Switch Hub)
8
- ติดเครื่องสำรองไฟฟ้าให้ Switch Hub ทุกตัว

5. กระบวนการสำคัญ(Key Process)
กระบวนงานที่สำคัญ
(Key  Process)
สิ่งที่คาดหวัง
(Process  Requirement)
ความเสี่ยงสำคัญ
(Key   Risk)
ตัวชี้วัดสำคัญ
(Performance  Indicator)
1. งานซ่อมบำรุงระบบคอมพิวเตอร์
1. สนับสนุนให้หน่วยงานต่างๆใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ระบบสารสนเทศมีความพอใช้งานเสมอ
1. ระบบโปรแกรมเวชระเบียน HOSxP ไม่สามารถใช้งานได้
2. เครื่องลูกข่ายไม่พร้อมใช้งานเสีย ชำรุด
3. อินเตอร์เน็ตใช้ไม่ได้
1. อัตราการการซ่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเสร็จทันตามกำหนด
2. จำนวนครั้งที่ Internet ใช้งานไม่ได้
2. งานบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพวง
1. เพื่อให้ระบบสามารถทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง
2. อายุเครื่องคอมพิวเตอร์มีอายุการใช้งานเพิ่มขึ้น
1. ระบบโปรแกรมเวชระเบียน HOSxP ล่ม
2. เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลชำรุด
1. จำนวนครั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ได้รับการตรวจเช็คอย่างน้อย 1 เดือน/ครั้ง
3. งานให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
- เพื่อให้ผู้รับบริการได้ข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน และหน่วยงานสามารถนำข้อมูลมาใช้ในการบริการผู้ป่วยได้
- เครื่องคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพเพียงพอกับงานที่ทำ
1. การบันทึกข้อมูลไม่ถูกต้อง
2. การรายงานข้อมูลคลาดเคลื่อน
1. อัตราการบันทึกข้อมูล DRGs Error
2. อัตราการรายงานงานสถิติการให้บริการหลักข้อมูลไปยังหน่วยบริการภายใน 15 ของทุกเดือน




6. กระบวนงานหรือระบบเพื่อบรรลุเป้าหมายและมีคุณภาพ
6.1 ระบบงานที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเพื่อให้เป็นไปตามสิ่งที่คาดหวังและปัจจัยความเสี่ยงสำคัญของแต่ละกระบวนการ(รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพที่เสร็จสิ้นแล้ว)
(สรุปความสำเร็จของการพัฒนาที่สำคัญในช่วงที่ผ่านมา อย่างสั้น ระบุแนวคิด ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น และการปรับปรุงที่เกิดขึ้นหรือวิธีการสำคัญที่เป็นข้อสรุปของการพัฒนา: CQI ที่แล้วเสร็จ)
แนวคิด/เป้าหมาย
ผลลัพธ์
วิธีการทำงาน/การปรับปรุงที่เกิดขึ้น
1. การตรวจสอบสิทธิบัตรผู้มารับบริการทุกคนได้ตลอดเวลาเพื่อการตั้งเบิกค่ารักษาตรงตามสิทธิของผู้มารับบริการ
1. ติดตั้ง Internet ความเร็ว Fiber Optic Speed 30/5 mb/s 

1. สามารตรวจสอบสิทธิบัตรได้ครอบคลุมมากขึ้น



 - การตรวจสอบสิทธิถูกเมิดข้อมูลส่วนตัว - ข้อมูลบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต (เช่น การค้นชื่อบุคคลสำคัญ  บุคคลที่เป็นข่าว  ดารานักแสดง เป็นต้น)
 - การตรวจสอบสิทธิจำนวนมากในแต่ลพวันไม่สมเหตุผล
 - แจ้งข้อความเตือนในคอมพิวเตอร์






- พบในรายการตรวจสอบสิทธิผ่านระบบบัญชี 1 (ข้อมูลประชากร)  ของผู้ใช้งาน HOSxP
แจ้งผู้รับผิดชอบระมัดระวังในการใช้งาน







แนวคิด/เป้าหมาย
ผลลัพธ์
วิธีการทำงาน/การปรับปรุงที่เกิดขึ้น
5. พัฒนาระบบรายงานตัวชี้วัดผลงานงานผู้ป่วยในและศูนย์คุณภาพ
1. ลดภาระงาน จนท.
2. ติดตามผลงานตามตัวชี้วัดได้รวดเร็ว
3. แก้ไปปัญหาตามตัวชี้วัดได้รวดเร็วขึ้น
1. ประชุมทีม IPD ,HA และทีมIT วิเคราะห์ความเป็นในพัฒนาระบบการรายงานตัวชี้วัดผลงานงานผู้ป่วย
2. พัฒนาตัวรายงานโดยใช้ข้อมูลจากโปรแกรม HOSxP
3. สรุปปัญหาข้อเสนอแนะและแก้ปรับปรุง
6. พัฒนาระบบการเก็บประวัติการใช้งาน Internet (Log file) ตาม พรบ.คอมพิวเตอร์ปี 50

1.ดำเนินการติดตั้งและเซ็ทระบบพร้อมทดสอบ
2. นำมาใช้จริง 1 ม.ค. 55



4.2       การพัฒนาคุณภาพที่อยู่ระหว่างดำเนินการ

กิจกรรทบทวน

ปัญหา/สาเหตุของปัญหา

แนวทางแก้ไข
หน่วยงาน/ทีมที่เกี่ยวข้อง
เครื่องชี้วัดเดิม/ผลการพัฒนาเดิม
เครื่องชี้วัด/ผลการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลง
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ติดไวรัส
1. จนท.นำ Handy Drive ที่มีไวรัสจากภายนอกมาใช้ใน รพ.
2. จนท.เข้าใช้เว็บหรือ E-Mail ที่แพร่ไวรัส
1. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสทุกเครื่อง
2. ติดตั้งโปรแกรม แบบไม่ใช้ Harddisk (NoHDD)  
3. จัดหา Fire wall (Server  หรือ Switch L3) 
4. 
ทีม IT และทุกหน่วยงานภายในรพ.
จำนวนครั้งที่ต้องลงวินโดว์ใหม่จากการจติดไวรัส
จำนวนครั้งที่ต้องลงวินโดว์ใหม่จากการจติดไวรัส

หมายเหตุ 
  - ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ 100 % ยังพบปัญหานี้สูง
  - อุปกรณ์และเครื่อง Firewall  มีราคาแพงมีข้อจำกัดในการจัดหา


7. ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ
                1. ผู้รับบริการได้รับการพิทักษ์สิทธิ
                2. มีข้อมูลที่จำเป็นและถูกนำไปใช้ในการพัฒนาองค์กรทั้งด้านบริหารงานภายในองค์กรและบริการภายนอกองค์กร(ผู้มารับบริการ) 
3. มุ่งพัฒนาข้อมูลสารสนเทศ ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัยอยู่เสมอ ครอบคลุมทุกหน่วยงาน

8.  ความท้าทาย  และความเสี่ยงที่สำคัญ จุดเน้นในการพัฒนา
                I ความท้าทาย
                                1. พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารให้เป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศอ
                                2. ลดภาระงาน จากการทำรายงานทุกเดือน
                                3. นำข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการการพัฒนาองค์กร
II ความเสี่ยงที่สำคัญ
ความเสี่ยงที่สำคัญ
แนวทางป้องกันและแก้ไข
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1. การสำรองข้อมูล (Back Up)      - ลดความเสี่ยงจากที่อาจเกิดขึ้นกับข้อมูล
   -สามารถนำข้อมูลกลับมาใช้งานได้ในกรณีที่ฮาร์ดดิสก์เสียหาย 
   - มีผู้บุกรุกทำการลบข้อมูลหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล โดยผู้ใช้งานเองหรือบุคคลภายนอก
1. จัดหาเครื่อง Server  สำหรับสำรองข้อมูลจำนวน 2 เครื่องเป็น Real Time Replication
 2. สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 2 เวลา (12.00 น., 200.00 น.)
3. จัดหาคอมพิวเตอร์ NoteBook สำหรับสำรอง (งานประกัน)
4. ของบประมาณจัดซื้อ NAS Storage สำหรับเพิ่มพื้นที่สำรองข้อมูล
- พบความเสียหายของข้อมูล 1 เครั้ง (13 มีนาคม 2558) ข้อมูลหายไปจำนวน  2  วัน
2. การป้องกันและแก้ไขปัญหากระแสไฟฟ้าขัดข้อง
1. การติดตั้งเครื่องสำรองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ (UPS
   - เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server)  ขนาด 3,000 VA
   - เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC)  ขนาด 550 VA
2. เมื่อเกิดกระแสไฟฟ้าดับนานเกิน 30  นาที
   2.1 ทำการบันทึกข้อมูล (Save) คอมพิวเตอร์ที่ยังค้างอยู่ 
   2.2 ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์บุคคลและคอมพิวเตอร์แม่ข่ายทุกเครื่อง อย่างปลอดภัย (Safety)
   2.3 ประกาศใช้โหมด Manual  ในการให้บริการ
   
- เครื่องสำรองไฟฟ้าที่สำรองเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) สำรองไฟฟ้าได้ประมาณ  30 นาที
- เครื่องสำรองไฟฟ้าที่สำรองเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) สำรองไฟฟ้าได้ประมาณ  5-10 นาที
(พบความผิดพลาด 1 ครั้งจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขยนาด 500  KVA  ไม่จ่ายไฟให้อาคารบริการนานกว่า 2 ชั่วโมง เมื่อวันที่  14  พฤษภาคม 2558 เวลา  19.00 น.)



3. การเปิดเผยข้อมูลของผู้ป่วย
1. กำหนดสิทธิ / รหัสผ่านของบุคลากรเพื่อเข้าสู่โปรแกรมการปฏิบัติงานและการเข้าถึงเวชระเบียน
2. กำหนดแนวทางปฏิบัติการขอใช้ / ขอถ่ายสำเนาเวชระเบียน
3. มีแนวทางปฏิบัติการเก็บข้อมูลผู้ป่วยที่เมื่อเปิดเผยแล้วเกิดความเสียหายต่อผู้ป่วย
4. สถานที่เก็บเวชระเบียนที่มิดชิด ปลอดภัย
5. พัฒนาระบบ PaperLess   ตามขั้นตอน
   5.1 พฤษภาคม  2555 เริ่ม Scan  เอกสาร(OPD-IPD)  ถึงปัจจุบัน
  5.2 พัฒนาระบบคืนข้อมูลบริการ (EMR , vEMR , Scandocument)
  5.3 ปรับวิธีการทำงานโดยไม่ใช้แฟ้ม
- ยังไม่พบการร้องเรียนเรื่องการเปิดเผยข้อมูลผู้ป่วย





 - พบข้อมูลแฟ้ม (OPD Card) ไม่กลับมางานเวชระเบียนร้อยละ  0.014 (ไม่รอตรวจ , ออกหมู่บ้าน , ไม่ได้ลงข้อมูล)
 - ปัจจุบัน (มิถุนายน 2558)  ยังใช้แฟ้มให้บริการอยู่ โดยเฉพาะ NCD Clinic
4. ความถูกต้อง ทันเวลาของข้อมูลสารสนเทศ
- กำหนดแนวทางปฏิบัติในการรายงาน การบันทึก การวิเคราะห์และการกระจายข้อมูล

 - กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการประมวลผลรายงานประจำแผนก (OPD / IPD / PT / ER / Dent)


การรายงานข้อมูลเบื้องต้นไปยังหน่วยบริการทันตามกำหนด 
 - พบข้อมูลรายงานบางตัวคำนิยามไม่ทันสมัย - ไม่ตรงกัน  ทำให้ประมวลผลคาดเคลื่อน
5. ข้อมูลผิดพลาด
1. จัดทำคู่มือการให้รหัสโรค หัตถการจัดทำคู่มือการลงข้อมูล
2. มีการประชุมตัวแทนจุดให้บริการเพื่อทำความเข้าใจ และให้ตระหนักถึงความสำคัญของการบันทึกข้อมูล
- ผลคะแนน MRA เพิ่มขึ้น
2556 :  88.66
2557  : 89.58




III จุดเน้นในการพัฒนา(ระบบบริการและบริการส่งเสริมสุขภาพ)
จุดเน้นโรงพยาบาล
จุดเน้นหน่วยงาน
จุดเน้นที่ 14 วางแผนและพัฒนาระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศในด้าน
14.1 การพัฒนาโปรแกรมข้อมูลและการบันทึกข้อมูลให้สามารถการเบิกจ่ายงบประมาณ ทุกสิทธิรักษา
14.2 ด้านการดูแลและสร้างการเรียนรู้การบำรุงรักษาและซ่อมบำรุงอุปกรณ์อย่างต่อเนื่อง
1. มุ่งให้มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาองค์กรทั้งด้านบริหารงานภายในองค์กรและบริการภายนอกองค์กร(ผู้มารับบริการ)
2. มุ่งให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแบบครบวงจร
3. มุ่งให้มีข้อมูลมีความรวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัยอยู่เสมอ ครอบคลุมทุกหน่วยงาน และมีการเชื่อมโยงสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ



3. ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (Performance Indicator)
เป้าหมายหน่วยงาน
ตัวชี้วัด
เป้าหมาย
ตัวชี้วัด
ผลลัพธ์
การเปลี่ยนแปลง
ที่เกิดขึ้น
ปี 2556
ปี 2557
ปี 2558
1. มุ่งให้มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาองค์กร
1.1 อัตราการตอบสนองความต้องการในการให้บริการสารสนเทศ
จำนวนรายงาน ที่หน่วยงานขอ




1.2 จำนวนการตั้งเบิกงบประมาณตามสิทธิการรักษาครบทุกสิทธิ
ร้อยละรายงานลูกหนี้การเงินจำแนกรายสิทธิ
-
-
-

2. มุ่งให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแบบครบวงจร
2. 1 อัตราความครอบคลุมของการพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูล
95 %
หน่วยงานที่ใช้ IT ในการเก็บข้อมูล/ หน่วยงานทั้งหมด
-
-
-

2.2 อัตราการซ่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเสร็จทันตามกำหนด
80 %
100
100100

3. มุ่งให้มีข้อมูลมีความรวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัยอยู่เสมอ ครอบคลุมทุกหน่วยงาน และมีการเชื่อมโยงสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
3.1 ลดระยะเวลารอคอยผู้รับบริการ
120  นาที
109.37
124.13151.25

3.2 อัตราความทันเวลาในการส่งข้อมูล 12 แฟ้ม 18 แฟ้ม
100 %
(ยังผลคะแนะการประเมิน CUP)
100
100
100







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น