โอกาสพัฒนา
|
การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์
|
|
ปัญหาเกี่ยวกับการสั่งใช้ยา
|
มีการแบ่งประเภทยาที่ไม่สามารถสั่งโดยการเขียนใน order แพทย์
และทางโทรศัพท์ ในการสั่งใช้ยา
|
-
จัดแบ่งกลุ่มยา High alert Drug
-
จัดทำรายการยา
High alert Drug บางรายการให้มีการใส่ใช้โดยแบบฟอร์มสำเร็จ
เพื่อลดการสั่งใช้ด้วยวาจา ประกอบด้วย Dopamine
inj, Digoxin inj Magnesium
sulfete inj. KCL inj
-
ผลการดำเนินงานอยู่ระหว่างดำเนินการ
|
ปัญหาเกี่ยวกับการถ่ายทอดคำสั่ง
|
แรกรับผู้ป่วยใน ที่มาเบิกยา stat จะเขียนเบิกโดยพยาบาล
|
-
จะต้องมีการนำ
แฟ้ม order แพทย์ ที่เป็น copy มาเพื่อให้เภสัชกรดูด้วยว่ายาที่เบิก
stat นั้น ตรงกันหรือไม่ ทำให้สามารถตรวจสอบว่ายา stat
ที่เบิกตรงกับ order แพทย์ ผลการดำเนินงานอยู่ระหว่างดำเนินการ
|
การเข้าถึงเภสัชสารสนเทศ
|
โรงพยาบาลไม่มีเภสัชกรอยู่ประจำ 24 ชั่วโมงในการตอบคำถามเกี่ยวกับยา
|
-
มีการจัดเวรให้มีเภสัชกรประจำในการตอบปัญหาเรื่องยาตลอด
24 ชม.
-
มีการทำบันทึกในการให้ข้อมูลผู้ป่วย
|
การเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วย
|
รพ.ภูกระดึงมีการยกเลิกการใช้ใบสั่งยาในผู้ป่วยบางประเภททำให้เภสัชกรไม่ทราบประวัติเดิมผู้ป่วย
|
-
ห้องยาสามารถเข้าถึงข้อมูลยาย้อยหลังเพราะ
ฝ่าย IT มีการ scan ใบสั่งยาเก็บไว้
ทำให้เภสัชกรและเจ้าพนักงานเภสัชกรรม สามารถดูประวัติการได้รับยาย้อยหลังได้ทุกคน
|
ระบบ DRUG Reconcile
|
ผู้ป่วยเข้านอนโรงพยาบาลตอนกลับบ้านไม่ได้ยาเดิมกลับ
|
ตอนที่ผู้ป่วย Admit ใหม่ จะต้องมีการคัดลอกยาเดิมที่ผู้ป่วยนำมาด้วยทุกรายการทั้งชนิด
และจำนวน เพื่อนำมาจัดในขณะที่ผู้ป่วยนอนรพ. (เขียนลงในใบ
ภกด.ผู้ป่วยใน)เมื่อผู้ป่วยกลับบ้านก็จะมีการทวนยาเดิม
กับยาใหม่ที่แพทย์สั่งจ่ายไม่ให้ผู้ป่วยได้รับยาซ้ำซ้อน
ผลการดำเนินงานไม่พบยาเดิมผู้ป่วยเหลือขณะที่ผู้ป่วยกลับบ้านแล้ว
|
Pre- Dispensing error
|
มีการเขียนรายงานความผิดพลาด
Pre- Dispensing error
แต่ไม่ค่อยต่อเนื่อง
|
1.มีใบบันทึกความคลาดเคลื่อนประจำจุด พิมพ์ฉลากยา จัดยา เช็คยา
2. มีการทำรายงานประจำเดือนในเรื่อง Pre- Dispensing error เพื่อนำมาแก้ไขปัญหาด้วย และประเมินการเกิดความคลาดเคลื่อนเป็นระยะ 3.จัดเรียงยาตามรายการ LASA ผลการดำเนินงาน ความคลาดเคลื่อนมีจำนวนลดลง (Dispensing error) |
Dispensing error
|
-
ยังพบความคลาดเคลื่อนทางยา
|
1.
มีการบันทึก Prescription errors, Pre-dispensing errors, Dispensing errors
2.
มีการรายงาน Prescription errors แก่องค์กรแพทย์ประจำเดือน
เพื่อหาแนวทางการแก้ไข
3.
มีการรายงาน Dispensing error และหาแนวทางการแก้ไขประจำเดือน
4.
มีการจัดทำ LASA
5.
มีการจัดทำฉลากยาที่เป็นลักษณะ
tall man
6.
มีการใช้ระบบ HosXP ในการจ่ายยาออก เพื่อดูประวัติยาเดิมผู้ป่วย
และป้องกันการจ่ายยาผิดคน
ผลลัพธ์ปี 2556
-
ไม่พบความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
(High Alert Drug)
-
ไม่มีอุบัติการณ์ของความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต
เกิดความพิการ หรือต้องได้รับการช่วยชีวิต
|
ADR
|
ผู้ป่วยได้รับยาที่เคยมีประวัติแพ้ยาซ้ำ
|
1.
มีการติดตามแบบ Spontaneus
APR
2.
มีการประเมิน Naranjo’s
algorithm WHO criteria
3.
มีการออกบัตรแพ้ยาให้ผู้ป่วยกรณีพบว่ามีการแพ้ยาและมีระบบการบันทึกประวัติการแพ้ยาในเวชระเบียนที่สามารถสังเกตเห็นได้ชัดเจน
และมีการบันทึกประวัติการแพ้ยาในระบบคอมพิวเตอร์สามารถแจ้งเตือนได้หากมีการต้องสั่งใช้ยา
4.
มีการจัดทำ APR
Report ทุกรายที่พบ
5.
มีการจัดส่งรายงาน
APR Report ทุกรายที่พบให้กับ อย.
ผลลัพธ์ ปี
2557 ไม่พบกรณีผู้ป่วยแพ้ยาซ้ำเนื่องจากความบกพร่องของระบบของโรงพยาบาล
|
การให้ข้อมูลผู้ป่วย
|
|
1. มีขั้นตอนการจ่ายยาผู้ป่วยนอก ผู้ป่วนใน และมีเอกสารที่แสดงขั้นตอนการจ่ายยา
2. ฉลากยามีข้อมูลครบถ้วนทั้งชื่อผู้ป่วย ชื่อยา ขนาด วิธีการใช้ยา
รวมถึงคำเตือนหรือฉลากช่วยที่สำคัญ
3. มีการสื่อสารกับผู้ป่วยโดยใช้หลักการของ Prime Question
4. มีการตรวจสอบยาก่อนจ่ายโดยเภสัชกร
โดยเฉพาะในเวลาราชการ
5. เจ้าพนักงานเภสัชกรรม มีการอบรม และฝึกทักษะการอธิบาย
คำแนะนำในการใช้ยาพิเศษประจำทุกปี
|
การติดตามผลการให้ยา
|
|
มีการแบ่งกลุ่มผู้ป่วยที่จะต้องมีการติดตามการใช้ยาซึ่งประกอบด้วย
-
คลินิก ARV
-
คลินิก วัณโรค
-
คลินิก โรคหอบหืด
-
มีการติดตามอาการไม่พึงประสงค์สำคัญในผู้ป่วยใช้ยา
Digoxin tab.
-
มีการเฝ้าระวังในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
ความดัน
-
มีการเฝ้าระวังในกลุ่มผู้ป่วยที่นำยาที่ไม่มีในบัญชี
รพ.ที่ต้องให้ต่อเนื่องโดยเฉพาะขณะนอนโรงพยาบาล
|
การรายงานเมื่อเกิดปัญหา
|
|
มีการจัดระดับความรุนแรงของปัญหาในการรายงาน
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น